แนวเวชปฏิบัติการรักษาด้วยยาในโรคปอดอินเตอร์สติเชียลจากโรคกล้ามเนื้ออักเสบไม่ทราบสาเหตุในผู้ใหญ่ (สรุป)

Idiopathic inflammatory myositis-associated interstitial lung disease (IIM-ILD) มีลักษณะทางคลินิก ผลการสืบค้น ความรุนแรงของโรค และการพยากรณ์โรคที่หลากหลาย กรณีที่มีอาการรุนแรง ได้รับการรักษาไม่เหมาะสมหรือล่าช้า อาจนำไปสู่ความทุพพลภาพและเสียชีวิตได้ แนวเวชปฏิบัติฉบับนี้จึงจัดทำขึ้นมาเพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลรักษาโรคปอดอินเตอร์สติเชียลจากโรคกล้ามเนื้ออักเสบไม่ทราบสาเหตุในผู้ใหญ่ของประเทศไทย

Read more

Progressive pulmonary fibrosis คืออะไร?

หลายคนคงเคยได้ยิน PF-ILD (progressive fibrosing ILD) ซึ่งจะหมายถึง fibrosing ILD ที่มีลักษณะลุกลาม (progressive phenotype) แต่คำนี้เป็น term ที่มาจาก inclusion criteria ของการศึกษาต่าง ๆ ซึ่งยังมีความหลากหลาย เมื่อต้นปี

Read more

แนวทางการวินิจฉัย ติดตามและรักษา SSc-ILD

แนวทางนี้เป็นคำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัย รักษาและติดตามผู้ป่วยโรคหนังแข็งที่มีโรคปอดอินเตอร์สติเชียล (systemic sclerosis-associated interstitial lung disease, SSc-ILD) โดยการนำคำแนะนำนี้ไปใช้ให้พิจารณาขึ้นกับบริบทของสถานที่ปฏิบัติงาน แพทย์ผู้รักษา ทีมแพทย์สหสาขา และผู้ป่วยแต่ละราย

Read more

PM2.5 ภัยร้ายที่ “มองเห็น”

ช่วงเดือนที่ผ่านมาหลายคนคงมีอาการจมูกฟึดฟัดๆ โดยเฉพาะคนที่มีโรคภูมิแพ้จมูกอยู่เดิม หรือบางคนอาจเริ่มมีอาการกำเริบของโรคทางเดินหายใจเดิมที่เคยคุมได้ดีมาตลอด ไม่ว่าจะเป็นหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หรือแม้กระทั่งโรคระบบอื่นๆ ของร่างกายโดยเฉพาะโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด

Read more

หลักพื้นฐานในการแปลผล spirometry

Pulmonary function tests มีหลายชนิด แต่การตรวจที่ใช้กันบ่อยที่สุด คือ spirometry ซึ่งถึงแม้เราจะคุ้นเคยกันมากที่สุด แต่หลายคนก็ยังคงสับสนกับการแปลผลอยู่

Read more

มาทำความรู้จักกับ “IPF” กัน

Idiopathic pulmonary fibrosis (IPF) หรือ “โรคปอดเป็นพังผืดที่ไม่ทราบสาเหตุ” เป็น ILD กลุ่ม idiopathic interstitial pneumonia (IIP) ที่มีการดำเนินโรคเรื้อรังและมีอัตราการรอดชีวิตแค่ 2-5 ปีเท่านั้น

Read more